พรบ. การบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534

 
พรบ.ตัวเต็ม
สรุปย่อhttps://envishared.blogspot.com/2022/12/blog-post.html
คีย์เวิร์ด
ถาม-ตอบ
มายแมพ
แฟลชการ์ด

สรุปย่อ การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย

    การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย










  1. แหล่งกำเนิดและองค์ประกอบของขยะมูลฝอย

    1. ที่พักอาศัย ธุรกิจการค้า

    2. สถาบันต่างๆ

    3. ก่อสร้าง รื้อถอน สถานที่สาธารณะ 

    4. สถาที่บำบัดน้ำเสีย

    5. เผาขยะ

    6. เขตอุตสาหกรรม

    7. เกษตรกรรม


  1. ประเภทขยะมูลฝอย

    1. ขยะเปียกหรือขยะสด

    2. ขยะแห้ง

    3. ขี้เถ้า

    4. ชยะชิ้นใหญ่

    5. ขยะถนนหนทาง

    6. ซากสัตว์

    7. ยานพาหนะที่ถูกทิ้ง

    8. ขยะก่อสร้างหรือรื้อถอน

    9. ขยะอุตสาหกรรม

    10. ขยะอันตราย

    11. ขยะเกษตรกรรมและมูลสัตว์

    12. กากตะกอนบำบัดน้ำเสีย


  1. อัตราการเกิดมูลฝอย


  1. ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณและองค์ประกิบของขยะมูลฝอย

    1. การลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด

    2. การหมุนเวียนกลับมาใช้ประโยชน์

    3. การอนุรักษ์ธรรมชาติ

    4. กฏหมายและข้อบังคับ

    5. การอนุรักษ์ธรรมชาติ

    6. กฎหมายและข้อบังคับ

    7. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และฤดูกาล

    8. การพัฒนาอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

    9. การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม

    10. การใช้ที่ดินและความหนาแน่นของชุมชน

    11. การบริการเก็บขนขยะมูลฝอย


  1. ปัญหาขยะมูลฝอย

    1. ที่ดิน สถานที่ ทำได้ยาก

    2. ไม่มีประสิทธิภาพ

    3. ขาดบุคคลากรชำนาญการ

    4. งบประมาณ

    5. หน่วยงานท้องถิ่นยังไม่ประสาน

    6. การกำหนดระเบียบและแนวทางปฏิบัติ 

    7. นำมูลฝอยมาใช้ประโยชน์น้อย

    8. กม. ไม่เอื้อ

    9. ประชาชนขาดความรู้


  1. ผลกระทบของการจัดการมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม

    1. การบั่นทอนความสวยงามของทัศนียภาพ

    2. การเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค

    3. การก่อให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม

    4. การเสื่อมค่าที่ดิน

    5. การต่อต้านของประชาชน


  1. การจัดการปัญหาขยะมูลฝอย

    1. การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

      1. ถังขยะและจุดรวบรวมขยะมูลฝอย

ถังสีเขียว=มูลฝอย ย่อยสลามได้เร็ว

ถังสีเหลือง=รีไซเคิล

ถังสีแดง=อันตราย

ถังสีฟ้า=ย่อยสลายไม่ได

  1. เกณฑ์มาตรฐานของถังขยะ

  2. จุดรวบรวมขยะมูลฝอย

  3. การเก็บขนขยะมูลฝอย

    1. ระบบถังอยู่กับที่

    2. ระบบบรรทุกถังขยะ

  4. สถานที่ถ่ายเทขยะมูลฝอย

    1. สถานที่ถ่ายเทขยะแบบถ่ายเทโดยตรง

    2. สถานที่ถ่ายเทขยะแบบเก็บกักชั่วคราว

    3. สถานที่ถ่ายเทขยะแบบผสม

  5. การกำจัดขยะมูลฝอย

    1. การกำจัดขยะมูลฝอยโดยเตาเผาขยะ

ข้อดี ใช้พื้นที่น้อย (เทียบกับฝังกลบ)
ทำลายมูลฝอยได้เกือบทุกชนิด

สร้างเตาเผา ใกล้แหล่งกำเนิดมูลฝอย

ไม่มีผลต่ออุตุนิยมวิทยา

ขี้เถ้า ไปถ่มดิน

ข้อเสีย ค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูง

ไม่เหมาะสม มลพิษทางอากาศ


การเผา มี 2 วิธี คือ

  1. การเผาแบบใช้ออกซิเจน (incineration) 680-1000 องศาเซลเซียส

  2. การเผาแบบไม่ใช้ออกซิเจน (pyrolysis) 900-1700 องศาฟาเรนไฮ

ผลพลอยได้ H2 CH4 CO CO2

ของเหลวคล้ายน้ำมัน = กรดอะซิติก อะซิโตร เมททานอล

ของแข็งคล้ายถ่าน = คาร์บอนบริสุทธิ์ สารเฉือย

  1. การกำจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีการฝังกลบ

วิธีถมที่ 

  1. แบบถมในพื้นที่ราบ

  2. แบบถมในพื้นที่ลาดเอียง

ในการฝังกลบ

1.1 การเตรียมหลุมฝังกลบ

  1. การเตรียมหลุมฝังกลบ

1.1) การกรุก้นหลุม ดินเหนียว 1-4 ฟุต 

  • geomembrane ทั่วไป 2-3 ฟุต ข้อเสีย ป้องกันการซึมของน้ำเสียจากขยะและก๊าซ

  • nyplon

  • โพลีแอดทีลีน

  • ไนล่อน

โดยมักใช้ปูทับไปบนชั้นดินเหนียว

1.2) การรวบรวมน้ำเสียจากขยะ

วางระวางรอบรวมน้ำเสีย —> ราง ท่อพรุน รับน้ำเสียจากขยะที่ก้นหลุม

ท่อรับน้ำเสียจากขยะหนาประมาณ 2 ฟุต

1.3) การทำทางลาดหลุมฝังกลบ

  1. การถมขยะ

  2. การกลบดิน

6 นิ้วทุกวัน บนสุด 60 เซนติเมตร

2)วิธีการขุดเป็นรอง ฝังกลบพืื้นที่ราบ

ขุดร่อง ความกว้างประมาณ 2 เท่าของขนาดเครื่องจักร

ขุดลึกประมาณ 2-3 เมตร

มาตรฐานในการควบคุมดูแล

  1. ไม่ให้นำของเสียอันตรายมากำจัดกับขยะมูลฝอยทั่วไป

  2. ควบคุมให้ขยะที่ฝังกลบถูกกำจัด อยู่ภายใต้ขอบเขตที่กำหนดไว้

  3. กำจัดน้ำเสีย และตรวจสอบการปนเปื้อน

  4. ดูแลทัศนีภาพ

  1. การกำจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีหมักทำปุ๋ย

    1. ขนาดของขยะ การหมักไม่ควรเกิน 2 นิ้ว

    2. อัตราส่วนระหว่างคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio)

30:1

  1. ปริมาณความชื้น 50-60% 

  2. ความเป็นกรด-ด่าง pH ใช้ O2 7-7.5  pH สูงกว่า 8.5 เกิดการสูญเสีย N

  3. ปริมาณอากาศ 10-30 ลูกบาศก์ฟุตต่อปอนด์

  4. ส่วนผสมของขยะที่หมักแล้ว 1-5%

การหมักขยะ 

  1. การเตรียมขยะ

  2. การหมัก

  3. การบ่มขยะ 2-4 week

  4. กรรมวิธีสุดท้าย compost บด compost 

  1. การแปรสภาพและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย

    1. การแปลสภาพขยะมูลฝอยเป็นพลังงาน

    2. การคิดแยกวัสดุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ 

    3. การนำขยะมูลฝอยไปถมที่ดิน


  1. ความหมายของของเสียอันตราย

ปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่างๆ


  1. แหล่งกำเนิดของเสียอันตราย

    1. โรงงานอุตสาหกรรม

    2. บ้านเรือยที่พักอาศัย 

    3. การเกษตรกรรม

    4. โรงพยาบาลและสถานพยาบาลต่างๆ


  1. ชนิดของของเสียอันตราย

    1. สารประเภทน้ำมัน

      1. ภาชนะบรรจุน้ำมันและน้ำมันหล่อลื่น

      2. กากตะกอนจากน้ำมันเดิม

      3. การล้างถังตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสีย

    2. สารอินทรีย์ตกค้างที่เป็นของเหลว

      1. ของเสียจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

      2. อุตสาหกรรมเคมีภัฑ์

    3. ตะกอนและของแข็งที่มีสารอินทรีย์

      1. ของเสียจากอุตสาหกรรมสี พลาสติก กาว

    4. ตะกอนของแข็งที่ีมีสารอนินทรีย์ 

      1. ของเสียประเภทฟอตเฟต

      2. ยิปซัม (แคลเซียมซัลเฟต)

    5. ตะกอนของแข็งที่มีโลหะหนัก

      1. กากตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสีย

      2. ระบบดักฝุ่นของอุตสาหกรรมถลุงโลหะ ชุบโลหะ แบตเตอรี่ ฟอกหนัง ฟอกย้อม

    6. สารประเภทตัวทำละลาย

      1. ของเสียจากอุตสาหกรรมพลาสติก ใยสังเคราะห์ สารกำจัดศัตรูพืช อิเล็กทรอนิกส์

    7. ของเสียที่มีฤทธิ์เป็นกรด

      1. pH ต่ำกว่า 2 —--> โลหะประเภท โครเมียม (ชุบโลหะ ฟอกหนัง)

    8. ของเสียที่มีฤทธิ์เป็นด่าง 

      1. pH สูงกว่า 12.5 —--> ของเสียที่มีสารผสมของไซยาไนต์ ซัลเฟต

    9. ของเสียที่มีสาร Polychlorinated biphenyls  (PCBs) ( ของแข็ง ของเหลว —> น้ำมัน ฉนวนในหม้อแปลงไฟฟ้า ตัวเก็บประจุไฟฟ้า

      1. เจือปนเข้มข้น > 50 ppm  

    10. วัสดุ ไม่มีมาตรฐาน หมดอายุ —-> สี พลาสติก

    11. ของเสียจากกิจกรรมล้างอัดภาพ

    12. ของเสียติดเชื้อ

 

  1. ปริมาณของเสียอันตราย

  2. ปัญหาของเสียอันตราย

    1. การเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายในรูปแบบต่างๆ

    2. การเกิดพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพ

    3. การปนเปื้อนของเสียอันตราย

  3. ผลกระทบจากของเสียอันตราย

  4. การจัดการของเสียอันตราย

    1. การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด

      1. การก่อให้เกิดของเสียให้น้อยที่สุด

      2. การนำกากของเสียอันตรายกลับมาใช้อีกครั้ง

    2. การเก็บกักของเสียอันตราย

    3. การเก็บรวบรวมและขนส่งของเสียอันตราย

      1. การขนส่งไปยังสถานที่ตั้งเพื่อการบำบัด

      2. การขนส่งไปยังสถานีขนส่งชั่วคราว

    4. การบำบัดกากของเสียอันตราย กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

    5. การกำจัดขั้นสุดท้าย

    6. การวางแผนการปฏิบัติการ