มายแมพและไฮไลต์ พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองพ.ศ. 2535

พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองพ.ศ. 2535
การรักษาความสะอาดในที่สาธารณะและสถานสาธารณะ
-ดูแลทางเท้า ดูแลกระถาง ต้นไม้
-ไม่อาบน้ำ ซักล้าง บนถนน
-ปิด ประกาศ ใบปลิว ได้รับอนุญาต
-เขียนบนกำแพง ติดถนน ได้รับอนุญาต
-บรรทุก ไม่หกหล่น ปลิว น้ำมันไหล
-ปล่อยสัตว์ ไปเขตห้าม ไม่ให้มูลถ่ายบนถนน
-ล้างรถบนถนน ที่สาธารณะ
-ซ่อมรถบนถนน ที่สาธารณะ ยกเว้นรถเสีย
-ทำทางเท้าชำรุด จอดรถบนถนน
-ทิ้งซากรถยนต์ บนถนนหรือที่สาธารณะ
-จำหน่าย ปรุงอาหาร บนถนน ที่สาธารณะ
-ซื้ออาหาร สินค้า ขณะอยู่บนรถ
-จูงสัตว์ลงในทางน้ำ ที่ปิดประกาศ
-เทวัตถุลงในน้ำ หรือใกล้น้ำ
-คนเข้าร้านอาหารเกิน 20 คน ต้องมีส้วม
-เติมน้ำมัน ต้องมีส้วม
การดูแลรักษาสนามหญ้าและต้นไม้ในถนนและสถานสาธารณะ
-เทสิ่งปฏิกูล มูลฝอย ลงในต้นไม้
-โค่น ตัด ต้นไม้ เว้นได้รับอนุญาต
-ปล่อยสัตว์ไปในที่ปิดประกาศห้าม
การห้ามทิ้งสิ่งปฏิกูลมูลฝอยในที่สาธารณะและสถานสาธารณะ
-ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ ลงในที่สาธารณะ
-ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ ลงในน้ำ
-บ้วนน้ำ ทิ้งมูลฝอย ปฏิกูล ลงรถ เรือ
-ทิ้งมูลฝอย ในที่สาธารณะ ที่ดินของตนมองเห็นจากสาธารณะ
-ยกเว้น เจ้าของเรือหรือเรือนแพที่ จพง.ยังไม่ได้จัดเตรียมให้
-อุจจาระ ปัสสาวะ ลงในที่สาธารณะ
การรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย
-ห้ามทำโคมไฟ ป้าย ศาลาที่พัก ม้านั่ง ส้วม  ฯลฯ ชำรุด
-ห้ามปีนป่าย นั่ง หรือขึ้นไปบนรั้ว กำแพง ต้นไม้หรือสิ่งค้ำยัน
-ห้ามติดตั้ง ตาก วาง หรือแขวน รกรุงรัง
- ระยะไม่เกิน 20 m. จากขอบทางเดินรถที่จราจรกว้างไม่ต่ำกว่า 8 m. ให้ดูแล
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
-กทม รมต.มหาดไทย สั่งผู้ว่ากทม.
-ส่วนอื่น เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด
-อบจ. เป็นปลัดมหาดไทย
-ผู้ว่ากทม ฯลฯ ปฏิบัติตาม พรบ.นี้
-โฆษณาให้ประชาชนปฏิบัติตาม
-กวดขัน ตักเตือน จับกุม
-กำหนดให้ชำระภายใน 15 วัน
บทกำหนดโทษ
 -ปรับ ปรับรายวัน
บทเฉพาะกาล
-ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน
-ค่าธรรมเนียมปิดประกาศ 200 บาท
บังคับใช้ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535
ผู้รักษาการ รมต.กระทรวงมหาดไทย,รมต.กระทรวงสาธารณสุข
ให้ใช้บังคับในเขตเทศบาล สุขาภิบาลกรุงเทพมหานคร
 และเมืองพัทยา เมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา